การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้


การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
The SOLO taxonomy
The SOLO taxonomy  เป็นการจัดระดับเพื่อประโยชน์ในการแสดงคณสมบัติเฉพาะ ๆกันของตำถามและคำตอบที่คาดว่าจะได้รับจากผู้เรียนเป็นของเกณฑ์การประเมินผลกาผลงานของ Bigeye and Collis (1982). "SOLO, มาจากคำว่า Structure of observed Learn ระบบที่นำมาช่วยอธิบายว่าผู้เรียนมีพัฒนาการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไรในการเรียนเพื่อรอบรู้หลากหลายของภาระงานทางวิชาการโดยที่นิยามจุดประสงค์ของหลักสูตรในสภาพที่พึงประสง" ปฏิบัติเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริงการใช้ SOLO Taxonomy ในการกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
Solo Taxonomy คือ สอนและการให้คะแนนตาผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้สิ่งที่สำคัญประการการกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งไม่มุ่งเน้นเฉพาะการผลงานเท่านั้น แต่ SOLO Taxonomy เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญว่าเข้าสิ่งที่สำคัญประการหนึ่งคือครูจะมีวิธีสอนอย่างไรที่ผู้เรียนได้ใช้ปัญญาที่มีความ Cality (1982).มาจากคำว่าtกรแองเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นผลงานของ Bigg สาหdจะก่อให้เกิดพัฒนาการมากขึ้น
SOLO Taxonorry ได้รับการเสนอโดย The SOLO taxonomy เป็นชุดของเกณฑ์การประเมินผลการ 0 มาจากคำว่า Structure of Observed Learning Outcome, เป็นระบบที่นำมาช่วยอธิบาย 4. นมการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไรในการเรียนเพื่อรอบรู้ที่มีความหลากหลายของภาระงานทางวิชาการโดยที่นิยามจุดประสงค์ของหลักสูตรในสภาพที่พึงประสงค์ของการปฏิบัติเพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริง
การใช้ SOLO taxonomy จะช่วยให้ทั้งครูและผู้เรียนตระหนักถึงองค์ประกอบที่หลากหลายจากหลักสตรได้อย่างแจ่มชัดขึ้นแนวคิดดังกล่าวถูกนำไปกำหนดเป็นนโยบายใช้ในการประเมินในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาหลายแห่งสืบเนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้ในหลายสาขาวิชาการประเมินความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียนอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาผู้เรียนในแง่ของความเข้าใจที่ซับซ้อนซึ่งความเข้าใจดังกล่าวแบ่งได้เป็น 5 ระดับ (1) ระดับโครงสร้างขั้นพื้นฐาน (Pre-structurnal) (2) ระดับโครงสร้างเดียว (Uni-structural) (3) ระดับโครงสร้างหลากหลาย (Multi-structural) (14) ระดับความสัมพันธ์ของเทวงสราง (Relational Level) และ (5) ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย (Extended Abstract Level)
โครงสร้างการสังเกตผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Biggs และ Collis แสนอวิธีการไว้คงต่อไปนTาหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนปฏิบัติในบทเรียน (To set learning objectives approprials to wors Studerit should be at a particular stage of the To assess the learning outconnes a หากริยาที่นำมาใช้เพื่อการประเมินมีความถูกต้องเหมาะสมในแค at a particular Stage of their program) และ2) ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน 21nE outcomes atrained by each studert) เมื่อเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ต้องมั่นใจว่าะเมินมีความถูกต้องเหมาะสมในแต่ละระดับ
 ระดับความสัมพันธ์ของความ•ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง (Refational Level) ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์เกี่ยวโยงของข้อมูลได้ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูลและภาพรวมทั้งหมด           ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย (Extended Abstract I เชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง
ตารางที่ 24 การจัดระดับ SOLO Taxonomy คำถามและการตอบสนองที่คาดหวังจากผู้เรียน

การจัดระดับ SOLO
คำถามและการตอบสนองที่คาดหวังจากผู้เรียนระดับโครงสร้างขั้นพื้นฐานผู้เรียน
โครงสร้างเดียว  (Uni-structural level)
ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานง่ายต่อการเข้าใจ แสดงความหมายของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
ระดับโครงสร้างหลากหลาย(Multi-structural level)
ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลหลายๆชนิดเข้าด้วยกัน (Multi-structural level) ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างความเกี่ยวโยงของข้อมูลไม่ปรากฏ
ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational Level)
ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูลได้และภาพรวมทั้งหมดได้นักเรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
ระดับความต่อเนื่องภาคขยาย (Extended Abstract Level)
นักเรียนเชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญและแนวคิดที่ซ่อนอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง



เพื่อความเข้าใจและการนำมโนทัศน์ SOLO Taxonomy ไปใช้ บิกส์ได้สรุปไว้ดังตาราง 25
ตารางที่ 25 ระดับของความเข้าใจระยะของการเรียนรู้และทำกิริยาที่ใช้
ระดับขององความเข้าใจที่นักเรียนแสดงออกในการเรียนรู้
ระยะของการเรียนรู้
(Phase of learning)
คำกิริยาที่ใช้
(Indicative Vertis)-
ระดับความต่อเนื่องภุขยาย
(Extended Abstract)
-สามารถสร้างเป็นความคิดเชิงมโนทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนได้
-สามารถสรุปอ้างอิง (generalize) ไปยังเนื้อหาใหม่ ๆ ได้
ระยะเชิงคุณภาพ
 (Qualitative Phase)
ลักษณะ / พฤติกรรมของการตอบสนองจากการเรียนรู้ของนักเรียนมีการบูรณาการ integrated) สู่แบบแผนเชิงโครงสร้าง structural pattern)-
-สร้างทฤษฎี (theories)
-สรุปอ้างอิง (generalize)-ตั้งสมมติฐาน hypothesis)
-สะท้อน (reflect)
-สร้างขึ้น (generate)
ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง (Relational Level)
-พฤติกรรมที่แสดงออกชี้ให้เห็นถึงการจัดการระหว่างความจริงและทฤษฎีพฤติกรรมและจุดมุ่งหมาย
-มีความเข้าใจในหลาย ๆ เนื้อหาองค์ประกอบย่อย ๆ ซึ่งสามารถบูรณาการมาเป็นมโนทัศ
-เปรียบเทียบระบุความแตกต่าง (compare / contrast)
-อธิบายเชิงเหตุผล
(explain cause)-integrate)
-วิเคราะห์ (analyse)
-แสดงความสัมพันธ์ (relate)
-นำไปใช้ (apply)



ทั้งนี้เพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิด“ การสอบคล้ายกับ "ก1ปรับเปลี่ยน1กความพแรงจูงใจ (reactivation) และแนวทางในการเรียนรู้ (Lituitid utility) ที่เป็นเครื่องมือในสอนของครูผู้สอน
การจัดลำต้นขั้นของจุดประสงค์การเรียนรู้ของบลูม (Bloom  1956 ) เมื่อนำมาสัมพันธ์กับแนวคิด SOLO Taxonomy) ของ Biggs & Collis 1982)
SOLO 1 และ 2 สอดคล้องกับแนวคิดของบลูมในขั้นความรู้ (จำ) กามเข้าใจเลยข้อมูลเชิงปริมาณ
SOLO 3 และ 4 สอดคล้องกับแนวคิดของบลูมในขั้นการวิเคราะห์สังเคราะห์เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพตัวอย่างการกำหนดค่าระดับคุณภาพการเขียนแผนจัดการเรียนรู้
ระดับ SOLO 1 หมายถึงการเลียนแบบและคงไว้ซึ่งขยงเติม (Initutive Maintenuatue) การเขียนแผนจะยึดตำราเป็นหลักทำแบบฝึกหัดตามหนังสือจัดกิจกรรมซ้ำ ๆเติมใช้สื่ออุปกรณ์สำเร็จรูปให้มีการประเมินการใช้จริง
ระดับ SOLO 2 หมายถึงการปรับประยุกต์ใช้ (meditative) การนำแผนการสอนที่มีอยู่ให้ดีขึ้นมีการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับโลกแห่งความเป็นจริง (real world) มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาเล็กน้อยคำนึงสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้เน้นทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ
ระดับ SOLO 3 หมายถึงการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Creative-tenerative) การเขียนแผนที่หนึงถึงพฤติกรรมใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้จะเขียนแผนแนวทางมหภาคใช้ผลงานการวิจัยประกอบการสอนเน้นมโนทัศน์ของวิชานั้น ๆและบูรณาการแบบข้ามกลุ่มสาระ
| การแปลความหมายของค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย 1. 00 – 1. 49 หมายความว่ามีความสามารถในการเขียนแผนและการน้าแผนจัดการเรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The STUDIES Model ระดับต่ำปรับปรุง
ค่าเฉลี่ย 1. 50 2. 49 หมายความว่ามีความสามารถในการเขียนแผนและการทำแผนที่เรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The STUDIES Model ระดับปานกลางพอใช้ |
 ค่าเฉลี่ย 2. 50 3. 00 หมายความว่ามีความสามารถในการเขียนแผนและการทำแผนที่เรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The STUDIES Model ระดับสูงที่

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น