การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร



การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
            นิยาม“ การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร
            การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตร (Curriculum Based Assessment: CBA) คือการให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามกิจกรรมที่ออกแบบให้สอดคล้องกับหลักสูตรที่ใช้จากนั้นนำผลการทดสอบไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนให้ตอบสนองความต้องการจำเป็นของนักเรียนผู้สอนนำผลการประเมินตามหลักสูตรมาใช้เพื่อปรับเปลี่ยนการสอนของตนเองเพื่อช่วยผู้เรียนให้พร้อมที่จะเรียนเรื่องต่อไปหรือกรณีที่ผู้เรียนที่มีความพร้อมและต้องการก้าวหน้ายิ่งขึ้นนักการศึกษาใช้การประเมินตามหลักสูตรเพื่อช่วยให้อัตราการพัฒนาการเรียนการสอนสูงขึ้นได้รวมถึงการปรับปรุงสือการเรียนการสอนด้วยการสังเกตและบันทึกการปฏิบัติของนักเรียนตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมได้จะช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน (Deno, 1987, p. 41). ในการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรนั้นการตัดสินใจเกี่ยวกับการสอนขึ้นอยู่กับข้อมูลย้อนกลับที่ได้จากการประเมินความสามารถของผู้เรียนที่ระบุไว้ในหลักสูตรเป้าหมายแรกคือแนวทางในกระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนการสอน (Blankenship. 1985; การGraden, Zins, & Curtis, 1988: Marston & Magnusson, 1985) ทั้งนี้เพื่อให้การเรียนสอนตรงกับความต้องการของผู้เรียนอันเป็นการเพิ่มโอกาสที่ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้
            การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรมีจุดเด่นที่บอกถึงภาระงานใดที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถตามที่หลักสูตรกำหนดการเลือกภาระงานและกระบวนการใช้คะแนนมาตรฐานและการบริหารใช้การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างไรนั้นก็แล้วแต่สถานการณ์อาจใช้ข้อมูลที่ได้จากการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรให้โปรไฟล์ของผู้เรียนได้ทั้งในระดับรายบุคคลระดับชั้นเรียนระดับสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษานอกจากนี้ข้อมูลจากการประเมินตามหลักสูตรสามารถใช้เป็นกลุ่มเปรียบเทียบ (norma-referenced manner) ที่ใช้เปรียบเทียบคะแนนของผู้เรียนรายบุคคลมา (Shinn, 1958) หรือปรียบเทียบ (criterion-referenced inunner) ความสามารถของผู้เรียนอันเป็นผลมาจากการเรียนใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบ (criterion-referenced Imaาการสอนที่สัมพันธ์สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน (Shinn & Good, 1992)
            การประเมินผลการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษากรอบที่ใช้ในการอ้างอิงทฤษฎีและแนวปฏิบัติที่เป็นแหลักการประเมินผลและการประเมินผลการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษากรอบที่ใช้ในการเวิจัยบางเดวิดนิโคล (David Nicol University of Strathclyde สรุปเป็นหลักการประมงการให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี 10 ข้อ ดังนี้
            1. ให้ความชัดเจนว่าการปฏิบัติงานที่ดีเป็นอย่างไร (เป้าหมายเกณฑ์การวัดเลยขอบเขตของสิ่งที่ผู้เรียนต้องทำในหลักสูตรมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายของเกมระหว่างและหลังการประเมินผลแค่ไหน
            2.การวัดเกณฑ์มาตรฐาน) ปาหมายของเกณฑ์และมาตรฐานก่อนเวลาและความพยายาม "กับการเรียนรู้สิ่งที่ท้าทายขอบเขตของงานที่มอบหมากระตุ้นการเรียนรู้ทั้งในและนอกชั้นเรียนอย่างลึกซึ้งแค่ไหน
            3. ให้ข้อมูลย้อนกลับคุณภาพสูงที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วยตนเองผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับหรือไม่อย่างไรและความคิดเห็นดังกล่าวมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และปรับปรุงด้วยตนเองได้อย่างไร
            4. สร้างความเชื่อที่เป็นแรงบันดาลใจและความเคารพตนเองในทางบวกขอบเขตของการประเมินและการให้ข้อมูลย้อนกลับสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนและความสำเร็จแก่ผู้เรียนได้แค่ไหน
            5. สนับสนุนให้มีการปฏิสัมพันธ์และการพูดคุยในเรื่องการเรียนการสอน (เพื่อนและครูนักเรียน) มีโอกาสใดบ้างสำหรับการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องงานที่มอบหมายเพื่อการประเมินผลในรายวิชาที่
            6. อำนวยความสะดวกในการพัฒนาการประเมินตนเองและการสะท้อนความคิดทางค้านการเรียนขอบเขตของโอกาสอย่างเป็นทางการสำหรับการให้ข้อมูลย้อนกลับการประเมินตนเองการประเมินโดยเพื่อนในวิชาที่เรียนมีแค่ไหน
            7. ให้โอกาสผู้เรียนเลือกการประเมินผล-เนื้อหาและกระบวนการขอบเขตของผู้เรียนสำหรับการเลือกหัวข้อวิธีการเกณฑ์การวัดผลค่าน้ำหนักคะแนนกำหนดเวลาและงานที่มอบหมายเพื่อการประเมินผล (งานที่ใช้ประเมินผลการประเมินผลงาน) ในรายวิชาที่สอนมีมากน้อยเพียงใด)
            8. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายการประเมินผลและการปฏิบัติของอย่างไรของข้อมูลที่ผู้เรียนได้รับหรือมีการส่วนร่วมให้คำปรึกษาเพื่อการตัดสินใจเรื่องการประเมินการประเมินผลมีหรือไม่     9. สนุบสนุนชุมชนแห่งการเรียนรู้ขอบเขตของการประเมินผลและการย้อนกลับช่วยสนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้มีมากน้อยเพียงใด
            10. ช่วยครูผู้สอนในการปรับการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของ

            ดังนั้นการประเมินผลจะมีหลักการ กระบวนการการประเมินการเรียนรู้ดังต่อไปนี้
            1.การประเมินผลต้องยึดตามจุดประสงค์การสอนที่ชัดเจน
            2.ชั้นตอนและเทคนิคในการประเมินผลควรเลือกตามจุดประสงค์ในการประเมิน
            3.ประเมินผลควรเป็นที่เข้าใจได้ตรงกัน
            4. การประเมินผลควรทำอย่างต่อเนื่อง
            5 การประเมินผลควรระบุจุดอ่อนจุดแข็งและใช้งานได้
            6.การรประเมินผติศวรเป็นความพยายามร่วมกัน
            7. การประเมินผลการจะมีความละเอียดรอบคอบ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น