แบบจำลองการเลือกสื่อ


แบบจำลองการเลือกสื่อ
          แบบจำลองการเลือกสื่อการเรียนการสอนมีหลายแบบ สำหรับการพิจารณาแต่ละแบบจะมีวิธีการเลือกสื่อที่ต่างกัน สิ่งที่น่าสังเกตคอ แต่ละแบบมีความต่างกันอย่างไร มีอะไรเป็นนัยของความแตกต่าง
          แบบจำลองของวิลเลี่ยม ออลเลน
          ในแบบจำลองของวิลเลี่ยม ออลเลน (William Allen) ผู้ออกแบบการเรียนการสอนต้องตัดสินใจเกี่ยวกับการจำแนกจุดประสงค์ และการจำแนกความสามารถสูงสุดของสื่อการเรียนการสอนที่จะพลิกแพลงให้เข้ากับจุดประสงค์ ออลเลน ได้ตรวจสอบประสิทธิผล สร้างตารางแจกแจงสองทาง
          แบบจำลองของเยอร์ลาชและอีลี
          ในแบบจำลองของเยอร์ลาชและอีลี (Gerlach and Ely) เป็นที่รู้จักกันในปีคศ 1971 ในตำราที่ชื่อว่าการสอนและสื่อ เยอร์ลาชและอีลี ได้นำเสนอเกณฑ์ ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ในการเลือกสื่อการเรียนการสอนหลังจากที่ระบุจุดประสงค์และระบุพฤติกรรมความพร้อมที่จะรับการสอนแล้วเกณฑ์ดังกล่าวประกอบด้วยประการที่ 1 ความเหมาะสมทางปัญญา(สื่อสามารถส่งผ่านตัวกระตุ้นตามเจตนารมณ์ของจุดประสงค์หรือไม่) ประการที่ระดับของความเข้าใจ(สื่อทำให้ผู้เรียนเข้าใจหรือไม่) ประการที่ราคาประการที่ 4 ประโยชน์(เครื่องมืออุปกรณ์วัสดุมีประโยชน์หรือไม่)
การขยายขอบเขตการเรียนรู้ด้วยการวิจัยการเรียนรู้

ผู้สอนสามารถปรับปรุงความสามารถในด้านวิชาการของผู้เรียนด้วยการวิจัยการวิจัยการเรียนรู้จะช่วยให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่าเงื่อนไขอะไรที่ทำให้มีการเรียนรู้เพิ่มขึ้นในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกับที่ตนเผชิญอยู่ นักวิทยาศาสตร์พฤติกรรมใช้วิธีการในการศึกษาพฤติกรรมด้วยการสังเกตบุคคลในสถานที่กรณีที่หลากหลายด้วยการตั้งคำถามลึกๆเกี่ยวกับประสบการณ์มีการสำรวจประชากรกลุ่มใหญ่เพื่อที่จะตัดสินใจว่าประชากรเหล่านั้นชอบหรือไม่ชอบนักออกแบบสร้างและใช้แบบทดสอบสำหรับความสามารถและคุณลักษณะของคนจำนวนมากแต่สิ่งที่สำคัญที่สุดและเป็นการให้ผลต่อการศึกษาการเรียนรู้คือการทดลองซึ่งนักวิจัยระมัดระวังและควบคุมการศึกษาสาเหตุและผลที่ได้รับ
          แบบมโนทัศน์ของการวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบการเรียนการสอนเนื้อหาส่วนใหญ่ของงานวิจัยที่เกี่ยวกับตัวแปรการออกแบบการเรียนการสอนต้องไม่กว้างเกินไปโดยปราศจากของการจัดการ ริชชี ได้จัดกลุ่มงานวิจัยเกี่ยวกับตัวแปรการเรียนการสอนเป็น 4 กลุ่มใหญ่คือผู้เรียนเนื้อหาวิชาสิ่งแวดล้อมและระบบการสอนการออกแบบการเรียนการสอนขึ้นอยู่กับธรรมชาติของความชี้เฉพาะในแต่ละกลุ่มอย่างหลากหลาย
ตารางที่ 21 ตัวอย่างของการปฏิบัติเชิงการเปลี่ยนแปลง


ข้อมูลป้อนกลับ Feedback  อีกวิธีการหนึ่งที่จะทำให้การผิดพลาดลดลงคือการให้ผู้เรียนได้รับรู้ที่ตอบสนองนั้นไม่ถูกต้องการรู้ว่าถูกหรือผิดจะช่วยให้ผู้เรียนแก้ไขการกระทำให้ถูกต้องระหว่างทดลองและเน้นไปที่ส่วนของพนักงานที่ต้องการกลั่นกรอง
          การเรียนรู้จากสื่อเคลื่อนที่
          เทคโนโลยีแบบเคลื่อนที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบพลวัตที่สร้างสรรค์การเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์กันภายใต้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนในยุคที่ความเจริญก้าวหน้าของสื่อสารไร้สายนี้อุปกรณ์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ประเภทโน๊ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือรวมถึงแท็บเล็ต กล้องถ่ายภาพดิจิตอล เครื่องเล่น MP3 หรือ MP4 และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆอีกมากมายในที่นี้เขาเรียกว่าสื่อเคลื่อนที่สามารถนำมาใช้เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ตอบสนองได้รวดเร็วมีปฏิสัมพันธ์แบบโต้ตอบให้ประสบการณ์ที่ดีเช่นในการสอนวิชาภาษาต่างประเทศสามารถแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ผ่านสื่อเคลื่อนที่ดังกล่าวนี้ทั้งนี้ผู้เรียน ยังใช้ประโยชน์ในการส่งอีเมลหรือใช้ประโยชน์เพื่อการนันทนาการได้อีกด้วย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น