บทที่7 การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน



บทที่7
การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน

            การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอน (Evaluation to improve Teaching E :) การประเมินการเรียนรู้ของตนเอง โดยกำหนดค่าคะแนนจากการวิเคราะห์การประเมินการเรียนรู้ด้านความรู้ (Cognitive Domain) ของบลูม (Bloom’s Taxonomy) การประเมินตามสภาพจริงและการประเมินจากแฟ้มสะสมงาน เป็นการตรวจสอบการบรรลุจุดหมายการเรียนรู้
            การประเมินเพื่อปรับปรุงการสอนมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้มีความเข้าใจและทักษะในการทบทวนตนเองหลังการสอน ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ทั้งก่อนเรียนการสอน ระหว่างการสอน และหลังสอนจบบทเรียนแล้ว การจัดกระบวนการพัฒนาการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน Glickman (2002) เสนอแนวคิดในการพัฒนาโดยใช้วิธีจัดองค์กรความรู้ด้านวิชานชีพ ดังภาพประกอบที่ 6
ที่มา Glickman, Carl D (2002) Leadership for learning how to help teachers succeed นักแปลเครือข่ายของวิชาการ 2546 : 120

องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
            วงกลมชั้นที่ 1 องค์ประกอบที่มีผลโดยตรงต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งการเรียนรู้ของผู้เรียนที่อยู่ในในกลางภาพ เป็นจุดศูนย์รวมของกิจกรรมทุกอย่างในชั้นเรียนและโรงเรียน การเรียนรู้ของผู้เรียนได้รับอิทธิพลโดยตรงจากองค์ประกอบที่อยู่ในวงกลมชั้นที่ ประกอบด้วยหลักสูตร-เนื้อหาของสิ่งที่สอน วิธีการสอน-ที่ใช้ และการวัดผล(แบบวินิจฉัย)การเรียนรู้ของผู้เรียน
            Glickman (1998) เสนอแนะว่า ให้ดูจุดศูนย์การของวงกลมต่าง ๆ ที่มีจุดศูนย์กลางร่วมกัน ศูนย์กลางคือเป้าหมาย วงกลมในสุดเป็นความพยายามของชั้นเรียนและโรงเรียนที่จะพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนทุกคน วงกลมชั้นที่ 1 การเรียนรู้ของผู้เรียนสัมพันธ์กันโดยตรงกับ เนื้อหาที่นำมาสอนวิธีการสอน และกลวิธีที่นำมาใช้ในการประเมิน
            วงกลมชั้นที่ 2 องค์ประกอบซึ่งจัดระบบภาระงานของผู้นำ (การเรียนรู้) ที่ทำต่อครูผู้สอน ซึ่งการปรับปรุงการสอนในชั้นเรียนประกอบด้วย จุดมุ่งเน้น (ต้องใส่ใจมนเรื่องใดบ้างในการปรับปรุงการสอน การสังเกตชั้นเรียน และการใช้ข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ และพิจารณาตัวอย่างชิ้นงานของผู้เรียน)
            จากภาพวงกลมชั้นที่ 2 จุดศูนย์กลางเดียวกันกับวงกลมแรกเพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนในนชั้นเรียนมุ่งที่จุดเน้นที่ผู้สอนกำหนดให้เป็นเป้าหมายการเรียนรู้ ต่อมาพิจารณาแนวทาง-วิธีการดำเนินการระหว่างบุคล(วิธีการสังการและควบคุม วิธีการสั่งการและควบคุม วิธีการสั่งการและให้ข้อมูล วิธีการแบบร่วมคิดร่วมทำ และวิธีการสั่งการ) ซึ่งจะใช่กับครูที่จัดการสอนในชั้นเรียนโดยตรง
            วงกลมชั้นที่ 3 องค์ประกอบซึ่งส่งเสริมให้การดำเนินงานครอบคลุมบริบทการปรับปรุงการสอนประกอบด้วย ลำดับความสำคัญในการปรับปรุงโรงเรียน ที่ได้จากวิสัยทัศน์ของโรงเรียนและความจะเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาโรงเรียน แผนการสอนพัฒนาวิชาชีพ ทรัพยากรและระยะเวลา และการประเมินผลวิธีการและสิ่งที่ผู้เรียนกำลังเรียนรู้อยู่ และวิธีการใช้ข้อมูลจากการประเมินแนวทางในการดำเนินงานจำเป็นเร่งด่วนของโรงเรียนต่อไป
            จากภาพวงกลมชั้นที่ 3 อิทธิพลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสิน ซึ่งเป็นของกระบวนการปฎิรูปการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงโรงเรียนทั้งหมดที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ที่เป็นลำดับความสำคัญในการปรับปรุงโรงเรียน
            Glickman, Carl D (2002) นักแปลเครือข่ายของวิชาการ 2546 : 131 สรุปคำถามนำเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับภาพองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังต่อไปนี้
            1.เป้าหมายของโรงเรียนคืออะไร จะบรรลุเป้าหมายของโรงเรียนได้อย่างไร และใช้เป้าหมายนี่อย่างไร ()
            2.แผนพัฒนาวิชาชีพครูที่สอดคล้องกับเป้าหมายของโรงเรียนคืออะไร แผนนี้เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกตรวจสอบการสอนของผู้สอนและการเรียนของผู้เรียนได้อย่างไร ()
            3. ประเมินความก้าวหน้าทั้งหมดมุ่งสู่เป้าหมายการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งโรงเรียนได้อย่าง ()
            4. อะไรคือจุดมุ่งเน้นในการสอนและการเรียนรู้ที่ผู้สอนทุกคนต้องปฏิบัติ ()
            5. จะใช้รูปแบบการนิเทศแบบใด (แบบคลินิกแบบเพื่อนแนะเพื่อนแบบกลุ่มวิจัย ฯลฯ ) และเครื่องมือใด (การสังเกตผลงานที่ได้รับมอบหมายการปฏิบัติแฟ้มผลงาน ฯลฯ ! (ช)
             6. จะใช้วิธีการอะไรในการทำงานร่วมกับผู้อื่น (แบบไม่สั่งการแบบร่วมคิดร่วมทำแบบสั่งการและให้ข้อมูลแบบสั่งการและควบคุม) (ฉ)
            7. ผู้สอนแต่ละคนจะมีการปรับเปลี่ยนอะไรในการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (ง)
            8 ผู้สอนแต่ละคนจะเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนอย่างไร (ค)
            9. ผู้สอนแต่ละคนจะเปลี่ยนเนื้อหาที่สอนอย่างไร (ข)
            การใช้คำถามนำนี้จะต้องคิดพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบอาจด้วยตนเองหรือร่วมกันในการวางแผนเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการสอนพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพและการ พัฒนาการศึกษาให้สูงขึ้นเป็นที่น่าพึงพอใจ
            Glickman,Anthony (1998) กล่าวสรุปไว้ว่า การเรียนการสอนนั้นสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ด้วยการทบทวนตนเองกระบวนการทบทวนตนเองทำให้ครู เข้าใจการสอนของตัวเองเข้าใจวายและอะไรได้น้อยช่วยให้ตัดสินใจอย่างฉลาดและเข้าใจความหมายของโรงเรียนได้กระบวนการในการทบทวนตนเองจะก้าวหน้าไปได้ต้องอาศัยก 2017 และแรงสนับสนุนการทบทวนตนเองหลังการสอนคนใดคนหนึ่งเป็นการส่วนตัวตามลำพังแต่เป็นการสร้างองค์ก็วามรู้ที่มีศักยภาพและมีความมั่นใจในการทำงานการทบทวนตนเองเป็นกวิสัยทัศน์มองเห็นภาพการเรียนการสอนที่ดีและประคับประคองกระบวนการทบทวนตนเองจะต้องปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอการจะปอย่างสม่ำเสมอและการทบทวนตนเองหลังการสอนเป็นเรือและโรงเรียนปฏิบัติอยู่เป็นการถามถึงวิธีการและเป้าหมายของการสอนของตัวเองเข้าใจว่าอะไรสามารถทำได้ยางฉลาดและเข้าใจความหมายของสิ่งที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและใน2หน้าไปได้ต้องอาศัยกรอบโครงสร้างที่ดีความท้าทายของการเรียนรู้จากประสบการณ์ของใครงองค์ความรู้ที่มีศักยภาพที่จะช่วยให้ครูรู้แจ้งเห็นจริงตนเองเป็นกระบวนการที่สร้างสรรค์สามารถช่วยให้ครู 2 กองและทะนุบางเขนภาพที่ดีเช่นนั้นไว้ได้การจะปฏิบัติให้ได้ประโยชน์สุงสุดชะต้องปฏิบัติ 3 สอนเป็นเรื่องเกี่ยวกับการตั้งข้อสงสัยเรียบพระสงที่อยกชการและเป้าหมายของการศึกษา
            Schon, (1983) อธิบายว่า การใช้ความคิดระหว่างการสอน "(ทบทวนตนเองหลังการสอน”  ได้มองย้อนหลังไปคิดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นอธิบายว่าการใช้ความคิดพิจารณาระหว่างการเรียนการสอนเรียกว่า “ การทบทวนตนเองระหว่างการสอน (reflection on acttion) ส่วนการคิดใตร่ตรองหลังการเรียนการสอนเรียกว่า“ การหลังการสอน” (reflection on practice) ซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากเหตุการณ์ได้จบลงแล้ว เมื่อครูได้มองย้อนหลังไปคิดถึงสิ่งที่เกิดขึ้น
การทบทวนตนเองหลังการสอนที่มีคุณภาพ
            การทบทวนตนเองหลังการสอนเป็นกระบวนการที่เหมาะกับการปฏิบัติงานในอาชีพเพราะเป็นกระบวนการที่ควรปฏิบัติ เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์กระบวนการนี้มิใช่จะจำเป็นเฉพาะกับการสอนที่ดีเท่านั้นแต่ยังเป็นความจำเป็นพื้นฐานสำหรับมนุษย์ด้วย บอเมสเตอร์ (Baumeister, 1991) กล่าวว่าชีวิตมีความหมายเมื่อเราสนองความต้องการ 4 ประการเหล่านี้ได้แก่ 1) ด้านวัตถุประสงค์ 2) ด้านค่านิยม 3) ด้านประสิทธิผลและ 4) ด้านความพึงพอใจในตนเองการทบทวนตนเอง
            หลังการสอนช่วยให้เราเข้าใจการเรียนการสอน คำว่า“ การทำความเข้าใจ Weick, (1995) กล่าวว่าการทำความเข้าใจเป็นความคิดและกระบวนการที่ซับซ้อน
            “ ความเข้าใจ”  ยังหมายถึง การเพิ่มความระมัดระวังในการมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มและในสภาวะแวดล้อมที่เราสอนชั้นเรียนของเราเป็นสภาวะแวดล้อมของการเรียนการสอนที่พิเศษ เพราะเราสร้างสภาวะแวดล้อมขึ้นมาและเราก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้แต่อย่างไรก็ตามสภาวะแวดล้อมก็มีผลกับวิธีการสอนของเราด้วยเช่นในห้องเรียนขนาดเล็กและแออัดกิจกรรมที่ทำได้ก็จะเป็นเพียงประเภทที่ไม่ต้องใช้โต๊ะ
            “ ความเข้าใจ” มิได้เป็นเพียงกระบวนการสนทนากับตัวเองเกี่ยวกับเรื่องการสอนเท่านั้นแต่เกี่ยวข้อง“ นการให้ความรู้จากการสนทนากับเพื่อนด้วยกันและเปลี่ยนประสบการณ์กันและกันกระบวนการนี้เปกระบวนการต่อเนื่องที่ต้องการความเป็นหินชาต่อเนื่องที่ต้องการความเป็นคนช่างสังเกตต้องสังเกตความเป็นไปในอาชีพถ้าเห็นว่ามีอะไรหตุผลมาอธิบายเรื่องที่เกิดขึ้นได้เช่นต้องสังเกตเห็นว่าเด็กคนไหนพูดคุยกันอยู่ตลอดเวลาคนไหนรักการอ่านตนไหนเก่งทดลองวิทยาศาสตร์และคนไหนใช้เครื่องเกิดขึ้นต้องหาเหตุผลมาอธิบายเนเด็กคนไหนจับดินสอไม่ถูกวิธีคนบันทึกเทปได้เก่ง
            การทบทวนตนเองหลังการสอนจึงเป็นเรื่อง“ การท่าความเข้าใจ" ภาพประกอบที่ 7 

รูปแบบการสะท้อนความคิดนี้ มีลักษณะเด่น 4 ประการคือเป็นวงจรมีความยืดหยุ่นมีประเด็นที่เน้นและมีลักษณะเป็นองค์รวม
            1. มีลักษณะเป็นวงจรการทบทวนตนเองและการปฏิบัติเป็นกระบวนการที่ดำเนินต่อเนื่องกันเป็นวงจรเมื่อกระบวนการเริ่มแล้วจะไม่มีการถอยหลังกลับไปสู่จุดเริ่มต้นพูดให้ชัดเจนยิ่งขึ้นก็คือการทบทวนตนเองหลังการสอนจะนำเราไปสู่วงจรใหม่ที่ปรับปรุงแล้วต่อไป
            2. มีความยืดหยุ่นรูปแบบที่จะนำใช้จำเป็นจะต้องมีความยืดหยุ่นจะต้องไม่เป็นแบบที่มีลักษณะเป็นขั้นตอนเหตุผลที่เป็นเช่นนี้มีอยู่ 2 ประการคือ
                        ประการแรกการทบทวนตนเองหลังการสอนมีจุดเริ่มต้นที่แตกต่างกันเช่น
                                    ครูคนหนึ่งอาจจะเริ่มต้นเมื่อเกิดความรู้สึกคับข้องใจที่ไม่สามารถใช้วิธีการที่ตนเองต้องการเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้เนื่องจากเพื่อนร่วมงานมีความแตกต่างกันออกไปพวกเขาไม่เข้าใจว่าวิธีการนี้จะใช้ให้สัมฤทธิ์ผลได้อย่างไร
                                    ครูอีกคนหนึ่งอาจคิดทบทวนสิ่งซึ่งเขาได้ทดลองใช้กับนักเรียนของเขา (งานเนยนองไม่ได้ผลครูอีกคนหนึ่งอาจเริ่มจากสิ่งที่เขาเชื่อว่าจำเป็นต้องใช้และนักเรียนทำร่วมกัน) และคิดว่าเหตุใดจึงไม่ได้ผลครูอีกคนหนึ่งอาจเริ่มจากสิ่งที่เขาเชื่อว่าจำเป็นต้องใช้ (เขาต้องการเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เพิ่มเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน) แต่ดูเหมือนว่าจะไม่สามารถหามาได้
                        ประการที่สองรูปแบบการทบทวนตนเอง ต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อให้สอดคล้องกับวิธีการวรปรับปรุงการเรียนการสอน ไม่จำเป็นต้องดำเนินไปในรูปแบบที่คงที่และมีขั้นตอนเป็นลำดับ เช่น
                                    ครูคนหนึ่งอาจเลือกที่จะทบทวนวิธีการสอนของเขาก่อนสิ่งหนึ่งที่เขาอาจจะเรียนรู้จากการทบทวนตนเองก็คือเขาเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดเองทำเองน้อยเกินไปเขามักจะคอยชี้แนะควบคุมและสอนหรือบอกเด็กตรง ๆ เมื่อรู้เช่นนี้เขาอาจลองทบทวนค่านิยมหรือความเชื่อของตนเอง (หากต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีสอน) แล้วหลังจากนั้นอาจจะทบทวนต่อไปว่าจะปรับปรุงการสอนและการเรียนรู้ของเด็กอย่างไร
                                    ครูคนอื่นอาจจะเริ่มที่การทบทวนถึงสภาวะแวดล้อมซึ่งก็คือโรงเรียนที่เขาสอนโรงเรียนอาจจะตั้งอยู่ในย่านยากจนชานเมืองความสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้ปกครองอาจจะไม่ค่อยมีในกรณีเช่นนี้ควรจะต้องมีการพัฒนาความสัมพันธ์กับชุมชนและโรงเรียนจะต้องเพิ่มบทบาทของตนเองต้องหาเงินเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาบุคลากรเป็นต้นจากการทบทวนสภาวะแวดล้อมอาจจะตามมาด้วยการพิจารณาว่าสภาวะแวดล้อมมีผลกระทบต่อการสอนได้อย่างไรบ้างซึ่งอาจจะย้อนไปสู่เรื่องค่านิยมของครูและโรงเรียนในภาพรวมดังนั้นค่านิยมการปฏิบัติการปรับปรุงและสภาวะแวดล้อมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องทบทวนส่วนลำดับขั้นตอนในการคิดนั้นแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล
            3. มีประเด็นที่เน้นการมีความยืดหยุ่นมิได้หมายความว่าจะคิดวกวนอยู่กับปัญหาเกี่ยวกับการสอนหรือวิตกกังวลในเรื่องดังกล่าวโดยหวังว่าครูจะพบทางออกเองการคิดจะต้องมีประเด็นที่เน้นและมีทิศทางเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายในการนี้ควรใช้รูปที่ 1. 1 เป็นแผนที่เพื่อช่วยชี้ทิศทางและจำกัดความสนใจรูปแบบดังกล่าวจะช่วยให้เห็นทิศทางโดยรอบและเห็นหนทางต่าง ๆ ที่อยู่เบื้องหน้าช่วยให้เข้าใจจุดสำคัญทางการศึกษาที่จำเป็นจะต้องสำรวจรูปแบบนี้มีส่วนที่ควรจะพิจารณา 4 จุดคือค่านิยมการปฏิบัติรับปรุงและสภาวะแวดล้อมโดยครูจะเลือกพิจารณาจุดใดก็ได้ขึ้นอยู่กับความสนใจแผนการพัฒนาอาชีพของตนเองและปัญหาต่าง ๆ
            4. มีลักษณะเป็นองค์รวมจากรูปนี้เราจะมองเห็นการเรียนการสอนภาพรวมเห็นการเชื่อมโยงค่านิยมในวิชาชีพเข้ากับการปฏิบัติการเชื่อมโยงการสอนเข้ากับความตั้งใจของครูที่จะพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพทำให้ครูเห็นว่าไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของรูปแบบนี้ทํางานอยู่ในสภาพหยุดการเปลี่ยนแปลง แต่เป็นการทำงานอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงและมักจะมีความไม่แน่นอนรามอยู่ด้วย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น