3. การประเมินคุณภาพภายนอก


3. การประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก คือ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซึ่ง กระทำโดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) หรือผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากโดยกายนอกที่ได้รับการรับรองจาก สมศ. เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
ความสำคัญของการประเมินคุณภาพภาย
นอกการประเมินคุณภาพภายนอกมีความสำคัญและมีความหมายต่อสถานศึกษาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชนดังต่อไปนี้ (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน), 2550)
1. เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานและพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
2. เพิ่มความมั่นใจและคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาให้มั่นใจได้ว่าสถานศึกษาจัดการศึกษามุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนเป็น-คนดีมีความสามารถและมีความสุขเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
3. สถานศึกษาและหน่วยงานที่กำกับดูแลเช่นคณะกรรมการสถานศึกษาหน่วยงานต้นสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลที่จะช่วยตัดสินใจในการวางแผนและดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลสำคัญในภาพรวมเกี่ยวกับคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกัดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายทางการศึกษาและการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) http: / / www. onesqa. or. th / th / index. php กำหนดหลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอกซึ่งมีหลักการสำคัญ 5 ประการ ดังต่อไปนี้
1) เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการตัดสินการจับผิดหรือการให้คุณให้โทษ
2) ยึดหลักความเที่ยงตรงเป็นธรรมโปร่งใสมีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง (evidence-based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ (accountability)
3) มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะอักยาณมิตรมากกว่านรกควบคุม
4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
5) มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากับจุดมุ่งหมายและหลักการศึกษาของชาติตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ. ศ. 2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบายแต่ยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติโดยสถาบันสามารกกำหนดเป้าหมายเฉพาะและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอกมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) 2550)
1. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการดำเนินงานของสถานศึกษาและประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด
2. เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งจะช่วยสะท้อนให้เห็นจุดเด่นจุดที่คารพัฒนาของสถานศึกษาสาเหตุของปัญหาและเงื่อนไขของความสำเร็จ
3. เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกบ 1 และหน่วยงานต้นสังกัด
4. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพและประกันคุณภาพภายในยางต่อเนื่อง
5. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษหน่วยงานเกี่ยวข้องและสาธารณชน
ผู้ประเมินภายนอก หมายถึง บุคคลหรือหน่วยงานที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดและได้รับ012รับรองจากสมศ. ให้ทำการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานการศึกษา คือ ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์และเป็นเป้าหมายต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่งเพื่อให้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสร "ตรวจสอบประเมินผลและการประกันคุณภาพการศึกษาองศาหรับการส่งเสริมก็เป็นดูแล
4. 4. การประเมินคุณภาพภายใน
 Clark (2005: 2) กล่าวว่าการปเป็นวิธีการประเมินที่นำไปใช้ประเมินเน้นที่กระบวนการ (process) ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอนเพื่อให้จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนประเมินที่นำไปใช้ในการตัดสินคุณค่าของโปรแกรมการเรียนการ 2) กล่าวว่าการประเมินคุณภาพภายในโปรแกรมการเรียนการสอน internal e สินคณค่าของโปรแกรมการเรียนการสอนในระหว่างดำหนินการการเรียน (process) การประเมินคุณภาพภายในมีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบแก้ไขและแผนการสอนเพื่อให้เกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้นเมื่อนำไปใช้กับผู้เรียนโดยทั่วไปในการประเป็นข้อมูลจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนโดยกำหนดจุดมุ่งหมายคือการจัดการเรียนรู้นั้นหรือการเรียนนั้นประสบผลสำเร็จตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่ข้อมูลต้องถูกเก็บรวบรวมอย่างต่อเนื่องเพื่อตรวจสอบว่าการสอนนั้นประสบจัดการเรียนรู้หรือการเรียนการสอนนั้นพัฒนาผู้เรียนได้จริงถ้าพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหาในการเรียนการสอนคล้าย ๆ กันอาจสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้หรือเรียนการสอนนั้นมีบางอย่างที่ไม่เป็นไปตามลอบ่งหมายดังนั้นการประเมินคุณภาพภายในเป็นการประเมินเพื่อปรับปรุงดำเนินการได้ทันท่วงทีการประเมินนี้จึงมีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของการจัดการเรียนการสอนเทมพ์ (Kemp: 1971) เสนอแนะการประเมินไว้ดังนี้
1. ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับที่เป็นที่ยอมรับตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ผู้เรียนมีข้อบกพร่องใดบ้าง
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ความรู้หรือทักษะในระดับที่เป็นที่ยอมรับหรือไม่ผู้เรียนมีข้อบกพร่องใดบ้าง
3.ผู้เรียนใช้เวลานานเพียงใดเพื่อให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้และเป็นที่ยอมรับของผู้สอนอย่างหรือไม่
4. กิจกรรมต่าง ๆ เหมาะสมสำหรับผู้เรียนและผู้สอนหรือไม่
5. วัสดุต่าง ๆ สะดวกและง่ายต่อการติดตั้งการหยิบการใช้หรือการเก็บรักษาหรือไม่
6. ผู้เรียนมีปฏิกิริยาต่อวิธีการเรียนการสอนกิจกรรมวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และวิธีการประเมินผลอย่างไรบ้างตนเองและข้อสอบหลังจากเรียนแล้วให้วัดจุดมุ่งหมายของการเรียน
7. ข้อสอบเพื่อการประเมินตนเองและข้อสอบได้หรือไม่ปรุงแก้ไขโปรแกรมในส่วนใดบ้าง (เนื้อหารูปแบบและอื่น ๆ )
การประเมินภายนอก
Claurk (2005: 1) กล่าวว่าว่าการประเมินคุณภาพภายนอก (External evaluation) เป็นการประเมินภายนอกหลังการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการตัดสินโปรแกรมการเรียนการสอนให้ความสำคัญที่ผลลัพธ์ (outcome) โดยสรุปการประเมินเพื่อศึกษาประสิของระบบโดยรวมเป็นการประเมินที่มุ่งตอบคำถามว่าการเรียนรู้หรือการจัดการเรียนการสอนความสำเร็จตามแผนที่วางไว้หรือไม่ผู้เรียนบรรลุจุดหมายและจุดประสงค์การเรียนรู้หรือไม่ผลการมีประสิทธิภาพหรือไม่การออกแบบการเรียนการสอนตลอดกระบวนการมีขั้นตอนใคที่ไม่เป็นไ.. ขั้นตอนบ้างเพื่อนำไปเป็นข้อมูลสำหรับผู้ออกแบบการเรียนการสอนได้พัฒนาต่อไป (Kemp. 1971 เสนอแนะแนวคิดการประเมินไว้ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายทั้งหมดได้รับการบรรลุผลในระดับใดบ้าง
2. หลังจากการเรียนการสอนผ่านไปแล้วการปฏิบัติงานของผู้เรียนเกี่ยวกับการใช้ความรู้ทักษะและการสร้างเจตคติมีความเหมาะสมหรือไม่หรือการจัดการเรียนการสอนประสบการเรียนรู้หรือไม่ผลการดำเนินการ
3. การใช้วัสดุต่าง ๆ ง่ายต่อการจัดการสำหรับผู้เรียนจำนวนมาก ๆ หรือไม่
4. สิ่งอำนวยความสะดวกกำหนดการและการนิเทศมีความเหมาะสมกับโปรแกรมหรือไม่
 5. มีการระวังรักษาการหยิบการใช้เครื่องมือและวัสดุต่าง ๆ หรือไม่
6. วัสดุต่าง ๆ ที่เคยใช้แล้วถูกนำมาใช้อีกหรือไม่
7. ผู้เรียนมีเจตคติอย่างไรบ้างต่อวิชาที่เรียนวิธีการสอนกิจกรรมและเที่ยวกับความสัมพันธ์ที่มีต่อผู้สอนและผู้เรียนคนอื่น ๆ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น